วันเสาร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนวันที่28 มกราคม 2558

บันทึกการเรียนประจำวันที่ 28 มกราคม 2558
บันทึกการเรียนครั้งที่4

ความรู้ที่ได้

1.ทฤษฎีเพียเจต์กับความรู้ทางคณิตศาสตร์
2.จุดุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
3.ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
4.หลักการสอนคณิตศาสตร์แก่เด็กปฐมวัย

ทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปัญญาเด็กปฐมวัย
-ขั้นการเรียนรู้จากความคิด
เป็นขั้นที่เด็กสามารถสร้างมโนภาพในใจได้และสามารถเรียนจากภาพแทนของจริงได้

ทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปัญญาเด็กปฐมวัย
-ประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
-เด็กใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5เก็บข้อมูลการใช้ประสาทสำผัสทั้ง5

คุณลักษณะตามวัยของเด็กปฐมวัยหรือพัฒนาการตามธรรมชาติ
-พัฒนาการด้านร่างกาย
-พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
-พัฒนาการ้ารสังคม
-พัฒนาการด้านสติปัญญา

ความรุ้ด้านคณิตศาสตร์ตามหลักเพียเจต์
-ความรู้ทางด้านร่างการ
-ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์
-ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์


จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์สำหลับเด็กปฐมวัย
-เพื่อให้เด็กมีความเข้าใจพื่นฐานเกี่ยวกับคณิตศา
สตร์
-เพื่อพัฒนามโนภาพ
-เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ
-เพื่อให้เด็กฝึกฝน
-เพื่อให้เด็กมีความเข้าใจ
-เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบ

1.การสังเกต
2.การจำแนกประเภท
3.การเปรี่ยบเทียบ
4.การจัดรับดับ
5.การจัดลำดับ
6.การนับ
7.รูปทรงและขนาด

คำศัพท์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
-ตัวเลข
-ขนาด
-รูปร่าง
-ค่าของเงิน
-ความเร็ว
-อุณภูมิ

ขอบข่าย
1.การนับ
2.ตัวเลข
3.การจับคู่
4.การจัดประเภท
5.การเปรียบเทียบ
6.การจัดลำดับ
7.รูปทรงและเนื้อที่
8.การจัดการหาค่า

หลักการสอนคณิตศาสตร์
1.สอนให้คล้องกับชีวิตประจำวัน
2.เปิดโอกาศให้เด็กค้นพบด้วยตัวเอง

ทักษะ
การฟังและการตอบคำถาม ได้คิดตามที่คุณครูพูด

วิธีสอน
ใช้ Power Point และบรรยายถามตอบ

ประเมินสภาพห้องเรียน
ห้องสะอาดดีและเย็นสบาย  และมีความสนุกกับการตอบคำถาม

ประเมินตัวเอง
ตั้งใจฟังที่คุณครูพูดและตอบคำถามดี  แต่รู้สึกไม่ค่อยมาสมาธิในการเรียนเท่าที่ควร

ประเมินเพื่อน
มีเพื่อนบางคนที่มาเรียนสาย  นั้งไม่สุภาพ  แต่ในการเรียนตั้งใจเรียนดี ตอบคำถามได้ดี

ประเมินอาจารย์
คุณครูเตรียบการสอนมาเป็นอย่างดี  แต่งกายเรียบร้อย  ใช้เหตุผลเวลาตอบคำถามนักศึกษา

วันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2558

โทรทัศน์ครู

 สรุป  โทรทัศน์ครู

จากรายการทอค์ด อะเบาว์ คิดส์ ตอนการสอนคณิตศาสตร์กับเด็กๆ อนุบาล 1

อาจารย์ จอย

   อนุบาล 1 ต้องสอนผ่านการเล่น การมีสิ่งที่เด็กสนใจสิ่งที่ดึงดูดเขา เช่น  รูปทรง  สี
การสอนต้องเป็นการสอนแบบถามแล้วให้เด็กตอบมีส่วนร่วมเสมอ ให้เด็กได้จับได้สำผัส
และต้องยกตัวอย่างให้เด็กเห็นอย่างชัดเจน  เช่น การจะสอนเลข 1  ต้องให้เด็กเห็นเลข 1 ว่า
เป็นรูปทรงแบบไหน  ให้จับสำผัสแล้วเป็นรูปทรงยังไง  สอนตัวเลขแต่ละตัวต้องใช้เวลา 1  อาทิตย์เพื่อให้เด็กจำได้อย่างแม่นยำ และการสอนต้องแซกด้วยเกมเพื่อให้เด็กสนใจมากขึ้น  

งานวิจัย

สรุปวิจัย
การพัฒนาทักษะพื่นฐานทางคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย โดยใชรูปแบบกิจกรรมศิลปะสรางสรรค์
เพื่อการเรียนรู้
ปริญญานิพนธ ของ คมขวัญ ออนบึงพราว


แผนการสอนการจัดกิจกรรมรูปแบบศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู 
1. หนวยการเรียน สัตว 
1.1 เรื่องยอย สัตวมีพิษ 
ชั้นอนุบาลปที่ 3 เวลา 45 นาที
 มโนทัศน สัตวมีพษิ คือสัตวมีพิษและเปนอันตรายตอคน เชนตะขาม , แมงปอง , งูและแมงมุม 
เปนตน 
จุดประสงค์
- สามารถบอกจํานวนที่เพมขิ่ ึ้นของสิ่งของได กิจกรรมศิลปะ ศิลปะเปลี่ยนแบบ


กิจกรรมการเรียนการสอน
1. กระตุนการเรียนรู 
1.1 ใหสิ่งเราที่สอดคลอง กับสาระ 
1.2 ครูตั้งคําถามใหเด็ก คิดและติดตาม โดยการสังเกต เพื่อนําไปสูเรื่องที่เรียน 
2. กรองสูมโนทัศน 
2.1 กระตุนใหสะทอนคิด และโยงความรูเพื่อใหเขาใจให มากขึ้น 
2.2 ใชคําถามใหเด ็กตอบ จากการคิดที่เด็กที่เรียนรู้
3. พัฒนาดวยศิลปะ 
 3.1 นําความรูสูงานศิลปะ 
 3.2 ทํางานศิลปะอิสระ 
4. สาระที่เรียนรู้
 4.1 อธิบายงานที่ทํา 
 4.2 อภิปรายและสรุปสิ่งที่เรียน

กิจกรรมครู
1. ครูสนทนากับเด็กเกี่ยวกับสัตว์ที่เด็กรูจัก
 2. ใหเด็กออกมาสังเกตสิ่งที่อยในู ตะกราและบอกลักษณะใหเพื่อนทาย
3. เด็กและครูรวมกันเฉลยคําตอบ ( ตุกแก , งู , แมงมุม , ตะขาบ )และนับ จํานวนสัตวมีพิษแตละประเภท
4. สนทนาเกี่ยวกับลักษณะของสัตวมี พิษประเภทตางๆ 
5. ใชคําถามกระตุนใหเด็กคิดเชน ™ เด็กคิดวาสัตว์เหล่านี้ทําไมเรียก กันวาสัตวมีพิษ ™ แตละชนิดมีพิษอยางไรและอาศัย อยูที่ใด ( เด็กรวมกันแสดงความคิดเหน็ )
6. เด็กรวมกันแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับวิธีป้องกันอันตรายจากสัตวมีพษ
7. ครูใหเด็กเลือกสัตวมีพิษคนละและ  ใหเด็กทํางานศิลปะเปลี่ยนแบบจากสัตว์มีพิษใหเปนสิ่งตาง ๆ ตามจนตนาการโดยให้เด็กเพิ่มจํานวนสัตวมีพิษตามจำนวนที่ตองการ
8. ใหเด็กทํากิจกรรมและคิดอยาง อิสระ
9. เด็กออกมาอธิบายงานของตนเอง หนาชั้นเรียนเชน ™ สัตว์ที่เลือกคือและเปลี่ยนแบบเปน ™ ตั้งคําถามจากภาพเชนภาพเพิ่มมีกี่ตัวให้เพื่อน ๆ ชวยกันนับและคําถาม
10. เด็กและครูรวมสรุปเกี่ยวกับสัตว์มีพิษและจํานวนสัตว์ที่เพิ่มขนในภาพ

สื่อการสอน
หุนจําลอง ,สัตวมีพษิ เชน ตะขาม , แมงปอง , งูและแมงมุม ™ ,ตะกรา
กระดาษ A 4 คนละ 1 แผน ,™ ดินสอ, ™ สีชอลก

ประเมินผล
1. สังเกตการตอบคําถามเกี่ยวกับสัตวมีพิษ 
2. สังเกตจากความสนใจในการทํากิจกรรม 
3. สังเกตจากงานศิลปะที่เด็ก

บันทึกหลังการสอน 
ในการทดลองครั้งนี้ผูวิจัยสังเกตพบวา เด็กใหความสนใจกิจกรรมและ สามารถเปลี่ยนแบบสัตวมีพิษ ใหเปนสิ่งตาง ๆ ตามจินตนาการเชน ตะขาบเปนภาพตนไม เกิด การเรียนรูทักษะทางคณิตศาสตร์การเพิ่ม – ลด ภายในจํานวน 1 – 10 อยางเขาใจจากการทํา กิจกรรมศิลปะเปลี่ยนแบบ จากการตอบคาถามของเพื่อนและเกิดความภาคภูมิใจ


บันทึกการเรียนประจำวันที่ 23 มกราคม 2558

บันทึกการเรียนประจำวันที่ 23 มกราคม 2558
บันทึกการเรียนคครั้งที่3

ความรู้ที่ได้รับ

ความหมายและประโยชน์ของพัฒนาการ
พัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงไปตามขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง
ประโยชน์ 

 พัฒนาการทางด้านสมอง

 
-ภาษา เหตุผล และเครื่องมือที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 -การคิด การสร้างสรรค์


พัฒนาการด้านสติปัญญาตามแนวคิด เพียเจต์ 
บรูเนอร์ ไวคอตสกี้


ความหมายและประโยชน์ของการเรียนรู้

การเรียนรู้ หมายถึง การรับรู้เข้ามาแล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
*การรับรู้ คือ การรับรู้เข้ามาแล้วยังไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม*
ประโยชน์ของการเรียนรู้
- เพื่อการอยู่รอด
- จะได้จัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับวิธีการเรียนรู้


ทักษะ

การกล้าที่จะตอบ   การใช้ความคิดเห็น

วิธีสอน

ใช้ Power Point ประกอบในการบรรยาย และการถามตอบ

ประเมินสภาพห้องเรียน

ห้องเย็นสบาย สะอาดดี

ประเมินตัวเอง

ตั้งใจเรียนดีตอบคำถามของคุณครูพอใช้ได้ ต้องปรับตัวในการตอบคำถามให้มากขึ้น

ประเมินเพื่อน

ตั้งใจเรียนดี ช่วยกันตอบคำถามคุณครูดีมาก แต่มีเพื่อนบางคนนำการบ้านวิชาอื่นขึ้นมาทำ

ประเมินอาจารย์

คุณครูมาสอนตรงเวลา  สอนแบบถามตอบให้นักศึกษาได้คิดตาม  เป็นการกระตุ้นให้ตั้งใจ
ในการเรียนดีมาก

วันอังคารที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2558

การบันทึกการเรียนประจำวันที่  16 เดือนมกราคม พ.ศ 2558


การบันทึกการเรียนประจำวันที่  16 เดือนมกราคม พ.ศ 2558


บันทึกการเรียนครั้งที่ 2

ความรู้ที่ได้รับ

สรุปบทความคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



กลุ่ม หกเหลี่ยม


ความหมายของคณิตศาสตร์
   คณิตศาสตร์ หมายถึง วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวน การคิดเลข เป็นวิชาที่มีความจำเป็นกับทุกๆอาชีพเด็กจะเรียนรู้คณิตศาสตร์จากสิ่งรอบตัวไม่ใช่เฉพาะตัวเลขโดยเกิดจากการสังเกตและเปรียบเทียบ ยิ่งเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวและจับต้องได้ ก็จะทำให้เข้าใจได้ง่ายและดีมากขึ้น

ความสำคัญของคณิตศาสตร์
   คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิต ทำให้มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผล
 มีนิสัยที่ละเอียดอ่อน รอบครอบ มีไหวพริบปฎิภาณที่ดีขึ้น ซึ่งจำเป็นต้องพัฒนาให้ถูกต้องตั้งแต่ระดับขั้นพื้นฐานให้กับคนในังคมเพื่อดำรงชีวิตร่วมกันอย่างมีความสุข

ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
    เป็นกระบวนการทางความคิดที่ต้องจัดตามความเหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กเพื่อให้เด็กมีความคิดที่ดีและมีประสิทธิภาพ มีทั้งหมด 5 ทักษะ

1.จำนวนและการดำเนินการ
2.การจัด
3.เลขคณิต
4.พีชคณิต
5.การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น

ประโยชย์ของคณิตศาสตร์
   ทำให้เด็กเรียนรู้จำแนกออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษะหรือขนาด คณิตศาสตร์ช่วยส่งเสร็มในการประกอบอาชีพต่างๆ ช่วงในการปลูกฝังและอบรมจะทำให้มีนิสัยละเอียด สุขุน รอบครอบ

ทักษะ
   การสรุปใจความสำคัญ การออกความคิดเห็นกับเพื่อน โดยกล้าที่จะออกความคิดเห็น

วิธีสอน
   แบบบรรยายและตอบคำถาม

ประเมินสภาพห้องเรียน
   สะอาดเียนร้อยดี

ประเมินตนเอง
   ตั้งใจเรียนดี มีความเข้าใจในเนื้อหาที่คุณครูได้สอน แต่ขาดความเชื้อหมั้นในตัวเองเวลาออกไปพูดหน้าชั้นเรียน

ประเมินเพื่อน
   ตั้งใจเรียนดี  แต่เสียงดังบ้างเวลาที่คุณครูสอน

ประเมินอาจารย์
   คุณครูตั้งใจมาสอนดี สอนได้เข้าใจในเนื้อหา  มีการยกตัวอย่างให้เห็นภาพมากขึ้น
   
   

บันทึกการเรียนประจำวันที่ 9 มกราคม 2557 (บทความ)

 

             บทความคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


สอนคณิตอย่างไรให้สนุก ( สำหรับเด็กปฐมวัย )

ถ้าพูดถึงคำว่า “ คณิตศาสตร์ ” สำหรับเด็กปฐมวัยนั้นฟังดูเหมือนเป็นเรื่องยากในความคิดของเด็ก แต่เราสามารถทำให้เด็กได้เรียนรู้อย่างสนุกสนานไม่เครียดไปกับเนื้อหาที่ต้องเรียนรู้ได้โดยหาวิธีที่ง่ายและเหมาะสมตามวัย พัฒนาการของเด็กดังเช่นเด็กปฐมวัยเรียนรู้โดยการเล่น และได้สัมผัสสิ่งต่างๆเพื่อให้เด็กเกิดการจดจำที่ยาวนาน  ดังนั้นผู้เขียนจึงคิดหาวิธีในการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ให้เด็กได้เรียนรู้อย่างสนุกสนานโดยจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้สื่อทั้งที่เป็นรูปภาพ ของจริง ของจำลองที่หลากหลาย บางครั้งใช้สื่อในห้องเรียนที่มีอยู่ตามมุมประสบการณ์เช่น ไม้บล็อก  ลูกบอล ตัวต่อ ฯลฯและจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดในเรื่องของการจำแนก การเปรียบเทียบ การจัดหมวดหมู่ การนับจำนวน รูปร่างรูปทรง ใช้วิธีจัดกิจกรรมกลุ่มซึ่งเด็กได้เรียนรู้ร่วมกันและรู้จักสังเกต ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  เช่นในการจัดประสบการณ์ให้เด็กเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ เรื่องไม้ดอกไม้ประดับ และต้องการให้เด็กได้เรียนรู้ในเรื่องการจำแนกสิ่งต่างๆเราสามารถจัดเด็กเป็นกลุ่มย่อยและนำสื่อของจริงเช่นดอกไม้ชนิดต่างๆที่มีสีต่างๆมาให้เด็กสังเกตและจำแนกดอกไม้ตามชนิด  สี กลิ่นของดอกไม้   นอกจากนี้เด็กสามารถเปรียบเทียบจำนวนของดอกไม้ที่จำแนกได้อีก และเปิดโอกาสให้เด็กแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานของกลุ่มของตนเองโดยวิธีการวาดภาพหรือการเล่าให้ครูและเพื่อนๆฟัง โดยครูให้กำลังใจเด็กในการปฏิบัติกิจกรรมโดยการชมเชยหรือให้เพื่อนๆปรบมือให้กำลังใจ    ผู้เขียนคิดว่าวิธีการจัดประสบการณ์นี้เป็นตัวอย่างหนึ่งในการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
โดย...วรารัตน์  สิริจิตราภรณ์
โรงเรียนบ้านเชิงดอย (ดอยสะเก็ดศึกษา)


การบันทึกการเรียนประจำวันที่  9 เดือนมกราคม พ.ศ 2558

การบันทึกการเรียนประจำวันที่  9 เดือนมกราคม พ.ศ 2558

บันทึกการเรียนครั้งที่1
ความรู้ที่ได้รับ
คุณครูพูดถึงเนื้อหาการสอนและวิธีการทำบล็อก
 ทักษะ
ให้นักศึกษารายงานตัวแล้วพูดถึงความสามารถตัวเอง คือ  การกล้าที่จะแสดงออก
วิธีการสอน
แบบบรรยาย
ประเมินสภาพห้องเรียน
เย็นสบายและห้องสะอาด

ประเมินตนเอง

ตั้งใจฟังที่คุณครูพูดเป็นอย่างดี แต่มีคุยกับเพื่อนบ้างเป็นครั้งคราว

ประเมินเพื่อน

มีความตั้งใจดี มีสมาธิในการเรียน

ประเมินอาจารย์

คุณครูแต่งกายเรียบร้อย  พูดเข้าใจง่าย  มีสมาธิในหารสอน